กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายอาญา
1. กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการป้องกันสังคมให้เกิดความสงบเรียบร้อย โดยกำหนดว่าการกระทำใดเป็นความผิดอาญาและกำหนดโทษของผู้ฝ่าฝืน
2. ลักษณะที่สำคัญของกฎหมายอาญา คือเป็นกฎหมายที่กำหนดเป็นความผิดชัดแจ้งและไม่มีผลบังคับย้อนหลังที่เป็นโทษแก่ผู้กระทำความผิด
3. โทษทางอาญามี 5 ชนิด คือ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับและริบทรัพย์สิน4. การกระทำความผิดทางอาญามีบางกรณีที่กฎหมายยกเว้นโทษและยกเว้นความผิด
5. เด็กและเยาวชนกระทำความผิดอาจได้รับโทษต่างกับการกระทำความผิดของผู้ใหญ่ เนื่องจากเด็กและเยาวชนเป็นผู้อ่อนเยาว์ ปราศจากความรู้สึกรับผิดชอบ การลงโทษต้องคำนึงถึงอายุของเด็กกระทำความผิด อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2559
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
วันรัฐธรรมนูญ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามฉบับถาวรเป็นฉบับแรก ให้แก่ปวงชนชาวไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕
การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ อ่านเพิ่มเติม
ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
วันรัฐธรรมนูญ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามฉบับถาวรเป็นฉบับแรก ให้แก่ปวงชนชาวไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕
การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทย เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ อ่านเพิ่มเติม
ระบอบการเมืองการปกครอง
รูปแบบของรัฐ
รัฐเดี่ยว คือ รัฐที่ศูนย์กลางในทางการเมือง และการปกครองรวมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีเอกภาพไม่ใด้แยกจากกัน มีการใช้อำนาจสูงสุดทั้งภายในและภายนอกโดยองค์กรเดียวกันทั่วดินแดนของรัฐ อำนาจสูงสุดในที่นี้นี้คืออำนาจอธิปไตย
รัฐรวม รัฐคู่ คือ รัฐต่างๆ ที่มีตั้งแต่ 2 รัฐขึ้นไปซึ่งได้รวมตัวกันภายไต้รัฐบาลเดียวกัน หรือ ประมุขเดียวกันโดยที่แต่ละรัฐยังคงมีสภาพเป็นรัฐอยู่อย่างเดิม ประเทศที่เป็นรัฐรวมหรือหลายรัฐที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันจะอยู่ในรูปแบบของ สหรัฐ หรือ สหพันธรัฐ
สิทธิมนุษย์ชน
แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนครอบคลุมถึงสิทธิของทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา นับแต่ทารกแรกเกิดและมีชีวิต เด็กและเยาวชน สตรี ผู้ยากไร้ คนเร่ร่อน ผู้ใช้แรงงาน คนพิการ คนขอทาน เกษตรกร ผู้ป่วยรวมถึงคนป่วยโรคเอดส์ และคนฝากขัง อ่านเพิ่มเติม
แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนครอบคลุมถึงสิทธิของทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา นับแต่ทารกแรกเกิดและมีชีวิต เด็กและเยาวชน สตรี ผู้ยากไร้ คนเร่ร่อน ผู้ใช้แรงงาน คนพิการ คนขอทาน เกษตรกร ผู้ป่วยรวมถึงคนป่วยโรคเอดส์ และคนฝากขัง อ่านเพิ่มเติม
พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
คุณลักษณะของพลเมืองดี
คุณลักษณะพลเมืองดี คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
วัฒนธรรมไทย
การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
วัฒนธรรมสากลหรือวัฒนธรรมนานาชาติ หมายถึง วัฒนธรรมที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปอย่างกว้างขวางหรือเป็นอารยธรรมที่ได้รับปฏิบัติตามกันทั่วโลก เช่น การแต่งกายชุดสากล การใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสาร การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การค้าเสรี การใช้เครื่องจักรกล ระบบการสื่อสารที่ทันสมัย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และมารยาทในการสมาคม เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม
สังคมมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
1. ด้านการเมืองการปกครอง
ตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ต่อมาในสมัยอยุธยาเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจปกครองและบริหารราชการแผ่นดิน ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการรับอิทธิพลของชาติตะวันตกมา ใช้ตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 5 จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขโดยประชาชนมีสิทธิ์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ร่วมกันเลือก นายกรัฐมนตรี จากบรรดาสมาชิกผู้แทนราษฎร เพื่อจัดตั้งเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ อ่านเพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
1. ด้านการเมืองการปกครอง
ตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้มีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก ต่อมาในสมัยอยุธยาเปลี่ยนการปกครองเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจปกครองและบริหารราชการแผ่นดิน ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์เริ่มมีการรับอิทธิพลของชาติตะวันตกมา ใช้ตั้งแต่สมัยราชกาลที่ 5 จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงด้วยระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขโดยประชาชนมีสิทธิ์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ร่วมกันเลือก นายกรัฐมนตรี จากบรรดาสมาชิกผู้แทนราษฎร เพื่อจัดตั้งเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)